หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา
1.1ความเป็นมาและพัฒนาการบริหาร
การบริหาร
หมายถึง การปฏิบัติการต่างๆ ของหน่วยงานของรัฐ ทั้งในด้านนิติบัญญัติ บริหารและการกุศล
แต่ให้หมายเฉพาะรายละเอียดในการบริหารงานและเกี่ยวกับหน่วยงานบริหารเท่านั้น
สรุป
การเมืองและการบริหาร
แยกจากกันไม่ออก
เพราะกิจการทั้งสองด้านเป็นส่วนของโครงสร้างของการปกครองประเทศ
1.2 ความสำคัญของการบริหาร
ความสำคัญของการบริหารจึงสรุปได้ว่า
1.การบริหารนั้นได้เจริญเติบโตควบคู่กับการดำรงชีพของมนุษย์
2.จำนวนประชากรเพิ่ม การบริหารขององค์กรต่างๆต้องเพิ่มขึ้นด้วย
3.การบริหารเป็นเครื่องบ่งชี้ให้ทราบถึงความเจริญก้าวหน้า
5.ช่วยชี้ให้ทราบถึงแนวโน้มทั้งในด้านความเจริญ
6.ช่วยให้มีลักษณะเป็นการทำงานร่วมกันของกลุ่มบุคคลในองค์การ
7.มีลักษระต้องใช้การวินิจฉัยสั่งการเป็นเครื่องมือ
8.การบริหารเป็นเรื่องน่าสนใจและจำเป็นต่อการดำรงชีพอย่างฉลาด
9.การบริหารกับการเมืองเป็นสิ่งคู่กัน
ไม่อาจแยกจากกันโดยเด็ดขาด
1.3 ความหมายของการบริหารและการบริหารการศึกษา
สรุป การบริหารต้องมีองค์ประกอบดังนี้
1.มีคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป
2.กลุ่มคนต้องมาร่วมมือกัน
3.ทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งตามระบบ ระเบียบ และกฏเกณฑ์
4.ใช้ทรัพยากร และเทคนิคต่างๆอย่างเหมาะสม
5.บรรลุวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งหือหลายอย่างที่กำหนดไว้
6.วัตถุประสงค์ต้องรับรู้ร่วมกัน เห็นตรงกันหมด
1.4 การบริหารเป็นวิชาชีพชั้นสูง
การที่จะนับว่าสาขาวิชาใดเป็นสาขาวิชาชีพชั้นสูงได้นั้นต้องมีเกณฑ์ดังนี้
1.มี Social service บริหารสังคม
2.มี Lengths of training ระยะเวลาในการฝึกอบรม
3.มี Intellectual มีวิธีการใช้ความคิดสมอง
4.มี Professional Ethics มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
5.มี Professional Organization มีสมาคมวิชาชีพแข็งแรง
6.มี Academic autonomy มีความอิสระทางวิชาการ
1.5 การบริหารเป็นศาสตร์และเป็นศิลป์
1.มองการบริหารเป็นศาสตร์
เพราะมีลักษณะเป็นวิชาการสาขาหนึ่ง ที่มีการจัดระเบียบให้เป็นระบบของการศึกษา
2.มองเป็นศิลป์ การบริหารสามารถนำความรู้
หลักการและทฤษฎีการบริหารมาประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติ
เพราะฉะนั้น ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จ คือ ผู้ที่สามารถประยุกต์เอาศาสตร์การบริหารไปใช้อย่างมีศิลปะ
1.6 ปรัชญาของการบริหารการศึกษาซึ่งเป็นคตินิยม 13 ประการ
1.ผู้บริหารใช้ความฉลาดไหวพริบมาแก้ปัญหาต่างๆ
2.เปิดโอกาสให้บุคคลจำนวนมาก
3.ต้องเคารพความเป็นอยู่ของแต่ละคน
4.ต้องยึดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการศึกษาเป็นหลัก
5.ถือว่าตนเองเป็นเพียงผู้ประสานประโยชน์
6.เปิดโอกาสให้บุคคลทั้งหลายเข้าพบทำความเข้าใจกันได้
7.ถือว่าตนเองเป็นผู้นำ มิใช่เจ้านายผู้ทรงอำนาจ
9.ต้องเสียสละทุกอย่าง
10.ต้องประสานงาน และความเข้าใจ
11.ต้องประเมินงานของตนอยู่เสมอ
12.ต้องเคารพในวิชาชีพของการบริหาร
13.ต้องขวนขวายหาความรู้ใส่ตนอยู่เสมอ
|